Vacuum Handling System Technology

วันพุธที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2555

Needle Gripper


Special Gripper

      Handling of materials which are difficult to grip with vacuum, such as composite textiles, fleece, felt, metal foam, insulating mats, foam materials, filters, etc.





Application Sample
Handling  foam materials.

Foam Application

Porous Workpiece 










Needle gripper application for automotive industry






Credit by Schmalz Vacuum Technology

วันอาทิตย์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2555

Schmalz - Can Handling with SPZ with patented Combifoam



Schmalz thailand

Credit by Schmalz Vacuum Technology.

วันศุกร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2555

Vacuum Gripping System ( ระบบแวคคัม )

ระบบแวคคัม ( Vacuum System )

    ในปัจจุบันระบบการหยิบจับชิ้นงานด้วนระบบแวคคัมกำลังเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ในอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งหลายคนต่างให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะมีระบบไม่ซับซ้อน ออกแบบและใช้งานง่าย เหมาะสำหรับ การทำงานของเครื่องจักรในบ้านเรา ซึ่งมีความต้องการเป็นอย่างมาก




Schmalz in Thailand

Credit by Schmalz Vacuum Technology.

การคำนวนค่าต่างๆ ในระบบแวคคัม ( Vacuum System Design )

Vacuum System

http://catalog.schmalz.com/
Schmalz


การคำนวนหาแรงในการยก ( Vacuum Force )

F = PA
F = แรงที่ได้  หน่วยเป็น.       N
P = Pressure        "          bar
A = Area             "         cm2

ตัวอย่างการคำนวณ

ลูกยางขนาด 80 mm ที่ค่าแวคคัม  -0.6 bar

F = PA
   = 6 N/cm² x (8cm)² x 3.14 x 1/4
 = 301.4 N





การคำนวนหาน้ำหนักของชิ้นงาน

m = L x B x H x p

m = weight ( kg )
L = length  ( m )
B = width ( m ) 
H = height  (m )
p = density ( kg/m3 )

example

m = 2.5m x 1.25 m x 0.0025 m x 7,850 kg/m3 
m = 61.33 kgs.


แรงทางทฎษฏี ( Theoretical Holding Force of a Suction Pad )

  ลูกยางแวคคัมไม่เพียงแต่สามารถยกน้ำหนักของชิ้นงานเท่านั้น แต่ต้องสามารถยกน้ำหนักได้ในสภาวะที่มีความเร่ง และไม่เกิดความผิดพลาดในขณะทำงานอยู่ ดังนั้นการเคลื่อนที่จะไม่มีผลกับการยก ไม่ว่ากรณีใดๆ ถ้าหากเราเลือกและคำนวนอย่างถูกวิธี

กรณีแรก การยกชิ้นงานในแนวดิ่ง โดยไม่มีการเคลื่อนที่


Fth = m x ( g + a ) x S

Fth = Theoretical Holding Force  ( N )
   m = Weight   ( kg )
   g = Gravity ( 9.81 m/s2 )
  a = Acceleration ( m/s2 ) of system
  S = Safety factor ( minimum value 1.5 times; for critical , diverse or varied or porous material or rough surfaces 2.0 or even higher )

ตัวอย่างการคำนวณ

Fth = m x ( g + a ) x S
      = 61.33 kg x ( 9.81 m/s2 + 5 m/s2 ) x 1.5
     = 1,363 N


For Calculation Tools









วิธีการเลือกลูกยางแวคคัม

วิธีการเลือกลูกยางแวคคัมให้เหมาะสม ( Vacuum Pad )

      การเลือกลูกยาง ( Suction Pad ) นอกจากจะเลือกขนาดของลูกยางแล้ว สิ่งที่สำคัญที่จะต้องดู ก็คือ สภาวะแวดล้อม การใช้งาน หรือดูตามเงื่อนไขดังนี้
1. การใช้งาน ควรจะพิจารณาในเรื่องของ ความถี่ในการใช้งาน อายุการใช้งาาน สภาวะกัดกร่อน หรือสารเคมี อุณหภูมิที่ใช้งาน เป็นต้น
2. วัสดุของลูกยาง เนื่องจากลูกยางมีเนื้อวัสดุหลากหลายประเภท บางประเภทเหมาะกับผิวเรียบ บางประเภทเหมาะกับผิวขรุขระ บางประเภทเหมาะกับชิ้นานมีน้ำมัน หรือเลอะน้ำมัน บางประเภท เหมาะกับงานที่ป้องกันไฟฟ้าสถิตย์ บางประเภทเหมาะกับการจับชิ้นงานไม่ทำให้เกิดรอย เป็นต้น
3. พื้นผิวของชิ้นงาน ลูกยางมีรูปร่างหลายแบบ เหมาะกับแต่ละสภาพพื้นผิวงานควรเลือกยางให้เหมาะสม









Credit Picture by Schmalz Vacuum Technology.